1) ดิน เกิดขึ้นได้อย่างไร
2) ดินมีความสำคัญ อย่างไร
3) ข้อใดเป็นส่วนประกอบของดิน
4) ข้อใดไม่ใช่ตัวชี้วัดคุณภาพดิน
5) ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับเทคนิควิธีในการตรวจวัดคุณภาพดิน
6) การตรวจวัดคุณภาพน้ำมีกี่ด้าน
7) ข้อใดเป็นตัวชี้วัดคุณภาพน้ำด้านชีวภาพ
8) ข้อใดเป็นการเก็บตัวอย่างน้ำแบบจ้วง
9) ตามประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่องวิธีการเก็บตัวอย่างน้ำทิ้ง ความถี่และระยะเวลา ในการเก็บตัวอย่างน้ำทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรมและนิคมอุตสาหกรรม นิคมอุตสาหกรรมให้เก็บแบบใด
10) เราตรวจวัดน้ำเสียได้อย่างไร
11) โดยทั่วไปช่วงความถี่เสียงที่มนุษย์สามารถได้ยินมีค่าเท่าไร
12) เครื่องวัดระดับความดังเสียง ได้แก่ข้อใด
13) ส่วนใดของเครื่องวัดเสียงที่ใช้รับเสียงและส่งสัญญาณเสียงเข้าไปในเครื่องเพื่อแปลผลระดับเสียง
14) ระดับเสียงเฉลี่ยตลอดเวลาการทำงาน (TWA) ที่อนุญาตให้สัมผัสได้ในแต่ละวันตลอดระยะเวลาการทำงาน 8 ชั่วโมงคือ
15) การใช้เครื่องวัดระดับความดังเสียงในกรณีที่ผู้ปฏิบัติงานทำงานในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งซึ่งมีระดับเสียงดังคงที่ควรตั้งค่าเบื้องต้นดังนี้
16) ข้อใดเป็นหน่วยวัดความเข้มแสง
17) Reflected glare หมายถึงข้อใด
18) การตรวจวัดในตำแหน่งที่สายตากระทบชิ้นงานหรือตำแหน่งที่ทำงานของคนงานเป็นวิธีการวัดแบบใด
19) การวัดแสงเฉลี่ยในห้องเรียนนั้นเซลรับแสงควรสูงในแนวระนาบจากพื้นประมาณเท่าไร
20) เครื่องมือที่ใช้ในการตรวจวัดปริมาณแสงสว่างหรือความเข้มแสงสว่างเรียกว่า
21) เครื่องวัดดัชนีความร้อนในสถานที่ทำงาน มีชื่อเรียกว่า
22) ส่วนตรวจวัดใดของเครื่องวัดความร้อนที่ต้องใส่น้ำกลั่นลงไปขณะทำการตรวจวัด
23) การประเมินผลกระทบของความร้อนแบบพื้นที่ (Area Heat Stress) เป็นการตรวจวัดอุณหภูมิในสถานประกอบการโดยทำการตรวจวัดอุณหภูมิจากจำนวนกี่ตัวตรวจวัด (Sensor)
24) การขับรถบรรทุกขนาดใหญ่จัดเป็นงานประเภทใด
26) ฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM2.5 มาจากไหน
27) ฝุ่นละอองที่เกิดขึ้นในบรรยากาศมีหลายขนาด ฝุ่นละอองขนาดใดที่เมื่อหายใจเข้าไปแล้วสามารถสะสมในปอดและทำให้เกิดโรคมะเร็งปอดได้
28) มาตรฐานฝุ่นละอองในบรรยากาศโดยทั่วไป กำหนดค่าเฉลี่ยฝุ่นละออง PM10 ในเวลา 1 ปี จะต้องไม่เกินกี่มิลลิกรัมต่อลูกบากศ์เมตร
29) ข้อดือวิธีการป้องกันตนเองจากฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM2.5
30) การตรวจวัดมลพิษทางอากาศสามารถตรวจจากแหล่งใดบ้าง